ยุทธศาสตร์ชาติด้านโลจิสติกส์กับความมั่นคงของชาติ

ยุทธศาสตร์ชาติด้านโลจิสติกส์กับความมั่นคงของชาติ

เอกสารวิชการเรื่อง "ยุทธศาสตร์ชาติด้านโลจิสติกส์กับความมั่นคงของชาติ"ฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อตอบวัตถุประสงค์ของการศึกษาทั้งสิ้น 3 ประการ ได้แก่

    (1) เพื่อศึกษาแนวคิด นโยบาย และแผนเกี่ยวกับยุทธศาสตร์ชาติด้านโลจิสติกส์ กับความมั่นคงของชาติ

    (2) เพื่อศึกษาบทบาทของกองทัพในการเสริมสร้าง ความมั่นคงของชติ ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านโลจิสติกส์ และ

    (3) เพื่อจัดทำข้อเสนอบทบาทของกองทัพในการเสริมสร้างความมั่นคงของชาติ ภายใต้ยุทธศาสตร์

ชาติด้านโลจิสติกส์ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต้นคมนาคมและระบบโลจิสติกส์ จะสามารถยกระดับให้ประเทศไทยก้าวไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้ว หลุดพ้นกับดักประเทศรายได้ปานกลางได้ โดยประเทศไทยมีวิสัยทัศน์ของยุทธศาสตร์ชาติด้านโลจิสติกส์20 ปี คือมุ่งให้ประเศไทยป็นศูนกลางโลจิสติกส์ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และมีเป้าหมายของยุทธศสตร์ คือ ระบบโลจิสติกส์แห่งชาติของไทยสามารถให้บริการที่สะดวก รวดเร็ว ประหยัด ปลอดภัย และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

พร้อมเป็นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งและโลจิสติกส์ของภูมิภาค เชื่อมโยงกับอนุภูมิภาคและนานาประเทศนอกจากการพัฒนาระบบโลจิสติกส์จะมีผลประโยชน์ด้านเศรษฐกิจที่จะได้รับเป็นอย่างมากแล้ว แต่ก็ยังมีผลกระทบที่อจเกิดขึ้นตามมาจากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ ซึ่งถึงแม้เส้นทางโลจิสติกส์จะนำพาความเจริญเติบโตให้แก่ด้านเศรษฐกิ แต่ปัญหาด้านความมั่นคงก็มีโอกาสจะตามมา อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อาทิ การขนส่งสิ่งผิดกฎหมาย ยาเสพติด อาชญากรรมข้ามชาติ ฯลฯ และเมื่อถึงเวลานั้นปัญหาความมั่นคงดังกล่าวก็อาจสะท้อนกลับไปเป็นปัญหาสำคัญต่อภาคธุรกิด้วยชนกัน ดังนั้น หน่วยงานด้านความมั่นคงอย่างกองทัพถึงแม้จะมิได้มีหน้าที่รับผิดชอบโดยตรในระบบการจัดการโลจิสติกส์ของประเทศแต่มีความเกี่ยวข้องในส่วนของการสร้างความเชื่อมั่นด้านความมั่นคงของชาติที่จะส่งผลต่อสายตาเพื่อนบ้าน มิตรประเทศที่ทำธุรกิจการค้าระหว่างกัน ดังนั้น กองทัพจึงมีบทบาทในกรสนับสนุนพัฒนาระบบโลจิสติกส์ในสภาวะแวตล้อมที่ภัยคุกคามไม่ตามแบบทความรุนแรงมากขึ้น และควรมีแนวทางการเตรียมความพร้อมในการรับมือกับเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคตศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชการป้องกันประเทศ (ศศย.สปท.) หวังเป็นอย่างยิ่งว่เอกสาฉบับนี้ะเป็นแนวทางให้กับผู้ที่ส่วนเกี่ยวข้องในการสนับสนุนด้านการพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ด้วยความสำคัญของการพัฒนายุทธศาสตร์ชาติต้านโลจิสติกส์ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580) ยังคงต้องอาศัยการศึกษาเพื่อพัฒนต่อยอดองค์ความรู้ให้ได้แนวทางการสนับสนุนด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ที่นเชื่อถือ ที่สมารถยึดถือและนำไปปฏิบัติไต้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป